5 เช็คลิส เตรียมพร้อมก่อนนำเสนอ

วันก่อนการนำเสนอต่อหน้าคนจำนวนมาก อาจจะทำให้เรารู้สึกกังวลและรู้สึกว่ายังเตรียมตัวไม่พร้อม เพื่อการนำเสนอให้ดีที่สุด เช็คลิสต่อไปนี้จะช่วยคุณให้การนำเสนอของคุณผ่านไปอย่างราบรื่น  มาดูกันว่า เราควรเตรียมอะไรให้พร้อมบ้างก่อนการนำเสนอที่จะถึงนี้

Share
เจาะเทรนด์ Presentation 2019 สไลด์โปร ดีไซน์ปัง !

เจาะเทรนด์ Presentation 2019 สไลด์โปร ดีไซน์ปัง ! อัพเดทสไลด์แบบไหนปัง ฮิต ติดเทรนด์ปีนี้อย่างกับใช้ Template มือโปร . วันนี้เรายกดีไซน์ Presentation ที่ฮิตแน่ๆ ในปี 2019 มาเป็นแนวทางออกแบบให้กับผู้ที่ต้องใช้ Presentation ในการนำเสนองาน รับรองลูกค้าจะต้องประทับใจ . . Gradient Gradient เป็นการไล่สีช่วยเพิ่มมิติให้กับสไลด์ ไม่ว่าจะเป็นสี Background หรือว่า รูปทรงต่างๆ

Share
วิธีทำ Presentation แบบรวดเร็ว แต่มีคุณภาพ!

“Deadline” ทุกๆ คนคงรู้สึกตื่นตัวทันทีเมื่อได้ยินคำๆนี้ แล้วถ้าเกิดอยู่ดีๆ เจ้านายเดินเข้ามาสั่งคุณว่า “อีก 2-3 ชั่วโมงเตรียม Presentation ด้วยนะ เราจะเตรียมประชุมกับ CEO ทีมใหญ่” มันคงทำให้คุณเกิดอาการตกใจ และถามกับตัวเองว่า มันจะทำทันได้ยังไง? ใช่มั้ยหละ วันนี้เรามีเคล็ดลับทำ Presentation แบบรวดเร็วตามใจสั่งของเจ้านาย มาให้ทุกคนได้ลองทำตามกัน วิธีนี้จะทำให้คุณทำ Presentation ออกมาได้รวดเร็ว แถมยังไม่เสียคุณภาพเลยแม้แต่นิดเดียว ลองไปทำตามดูกันเลย 1. หาประเด็นสำคัญ ก่อนจะเริ่มเขียนให้ลองคิดว่าจุดสำคัญหรือประเด็นสำคัญของการนำเสนอของคุณอยู่ตรงไหน ถ้าคุณมีประเด็นอยู่หลายประเด็น ให้ลองตัดทอนให้เหลือแค่

Share
10 ฟอนท์ แจกฟรี สำหรับทำ Presentation

ฟอนต์ที่เหมาะสมจะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพให้การนำเสนอของคุณดีขึ้น เป็นที่จดจำมากขึ้น และเพิ่มความน่าเชื่อถือให้แก่ผู้นำเสนอ นี่คือแบบฟอนต์ไทยและอังกฤษ 10 ฟอนต์ ที่คุณสามารถเลือกดาวน์โหลดได้ฟรี ลองเลือกไปใช้ให้เข้ากับงานนำเสนอของคุณเพื่อให้การนำเสนอในครั้งต่อไป เป็นที่จดจำมากขึ้น Font ภาษาไทย 1 RSU ฟอนต์เรียบง่ายคล้ายๆ Sukhumwit เป็นฟอนต์ฟรีที่สามารถโหลดได้ฟรี ทั้ง Windows และ Mac OS สามารถดาวน์โหลดได้ที่  http://www2.rsu.ac.th/files/rsufont.zip 2 WDB BANGNA ฟอนต์บางๆที่ใช้เป็นหัวข้อหรือสไลด์ที่เน้นความสวยงาม สามารถดาวน์โหลดได้ที่ http://www.f0nt.com/release/wdb-bangna/ 3 TF CHIANGSAEN ฟอนต์ที่เรียบง่าย ตัวหนังสือมีหัวอ่านง่าย

Share
เทคนิคการเลือกใช้สี สำหรับการออกแบบ Presentation

การสร้างงานออกแบบ Presentation ให้เจ๋งนั้น เราคงต้องพึ่งหลักการใช้เพื่อทำให้ผู้ชมสนใจ Presentation ของเรา และถ้าคุณยังไม่แน่ใจว่างานออกแบบ Presentation ของคุณจะเป็นไปในทิศทางไหน หรือยังไม่รู้ว่าจะเริ่มยังไงดี วันนี้เรามีเทคนิคเล็กๆ น้อยๆ ในการเลือกใช้สีในการออกแบบ Presentation ของคุณ เลือกใช้สีตามทฤษฎีสี แบบแรกคือการใช้สีที่มีเฉดที่แตกต่างกัน อย่างเช่น แม่สี (แดง เหลือง น้ำเงิน) เป็นต้น วิธีการนี้จะทำให้คุณรู้ว่าสีทั้ง 3 มีความสดที่เท่ากัน แบบที่สองคือการเลือกใช้สีคู่ตรงข้ามกัน เช่น สีน้ำเงิน สีน้ำเงินอ่อน

Share
5 สิ่งที่คุณควรหลีกเลี่ยงในการออกแบบ Presentation

สไลด์ Presentation ก็เหมือนดาบสองคม ที่สามารถเป็นได้ทั้งสิ่งที่เสริมพลังมหาศาลให้การนำเสนอของคุณที่ทำให้การนำเสนอของคุณเป็นไปด้วยดีจนถึงยอดเยี่ยม และมันก็สามารถทำให้การนำเสนอของคุณดูเลวร้ายก็ได้เช่นกัน คุณจะปลอดภัยมากขึ้นถ้าหากคุณเข้าใจว่าอะไรคือข้อบกพร่องที่ไม่ควรอยู่บนสไลด์นำเสนอของคุณ ถ้าหากคุณได้เรียนรู้เกี่ยวกับการออกแบบ Presentation มาบ้างแล้วในบทความที่ผ่านๆมา แต่ถึงอย่างนั้นคุณก็ควรต้องเช็คให้แน่ใจว่าคุณไม่ได้ทำอะไรที่ผิดพลาดไปบนสไดล์นำเสนอของคุณ เพื่อให้สไลด์นำเสนอของคุณสมบูรณ์แบบที่สุด นี่คือ 5 สิ่งที่คุณควรหลีกเลี่ยงในการออกแบบ Presentation 1 ใช้ Display Font (Font ที่มีเอกลักษณ์) ในส่วนเนื้อหา Display fonts เป็นรูปแบบตัวอักษรที่ไม่เหมาะสำหรับใช้กับส่วนที่ต้องใช้ตัวอักษรเยอะๆ เพราะ Display fonts จะเป็นแบบอักษรที่มีเอกลักษณ์ และเมื่อใช้ตัวอักษรประเภทนี้กับส่วนเนื้อหามันจะทำให้ผู้ชมอ่านเนื้อหาของคุณได้ยาก ส่วนใหญ่เราจะใช้รูปแบบตัวอักษรประเภทนี้ ในหัวเรื่อง ชื่อเรื่อง

Share
3 ขั้นตอนที่ควรทำ ก่อนออกแบบ Presentation!

ก่อนที่คุณจะออกแบบงานนำเสนอนั้น สิ่งที่คุณต้องทำก่อนก็คือสร้างเนื้อหาสำหรับงานนำเสนอก่อน ซึ่งก่อนที่จะสรุปเนื้อหาเหล่านี้ได้ เราก็นำเนื้อหามาผ่านขั้นตอนต่างๆเพื่อที่จะกลายมาเป็นเนื้อหาที่มีคุณภาพจริงๆ ขั้นแรกคือตรวจทานสคริปหรือเนื้อหาในสไลด์ของคุณก่อน ขั้นตอนที่ 2 คือ หาคำฟุ่มเฟือย คำที่ไม่สำคัญ และขั้นตอนที่ 3 คือจัดการแก้ไขมันให้เรียบร้อยซะ นี่คือรายละเอียดขั้นตอนที่เราอยากจะแนะนำให้คุณทำตาม   ขั้นตอนที่ 1 ไฮไลท์ พิมพ์ร่างคำพูดและเนื้อหาในสไลด์แต่ละสไลด์ของคุณออกมา พูดง่ายๆก็คือ พิมพ์ทุกอย่างที่มีออกมาให้หมดเพื่อที่คุณจะได้สามารถใช้ปากกาเน้นข้อความไฮไลท์คำที่คุณต้องการแก้ไขคำผิด หรือแก้ไขข้อผิดพลาดอื่นๆได้ง่ายและสะดวกกว่าการอ่านจากจอคอมพิวเตอร์  ขั้นตอนที่ 2 ตัดคำทิ้ง ลบคำฟุ่มเฟือยที่ไม่จำเป็นสำหรับงานนำเสนอที่คุณได้ไฮไลท์ไปในขั้นตอนแรกออกไปให้หมด แล้วคุณจะพบว่าคำพูด ประโยคต่างๆนั้นดูกระชับได้ใจความและคมชัดมากขึ้น ขั้นตอนที่ 3 ปรับแต่ง ขั้นตอนนี้คุณจะต้องถามตัวเองว่า อะไรคือสิ่งที่คุณต้องการจะพูดให้ผู้ชมของคุณได้รู้?

Share